วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

รับสมัครสอบตำรวจชั้น สัญญาบัตร 450 อัตรา

คุณสมบัติ


๒.๒ คุณสมบัติคุณวุฒิการศึกษา และอัตราเงินเดือนที่จะใช้รองรับการบรรจุและแต่งตั้ง
รวมทั้งเงื่อนไขต่างๆ ของผู้สมัครสอบ แต่ละกลุ่ม แต่ละสายงาน ในการรับสมัครและสอบแข่งขันฯ ในครั้งนี้
ซึ่งมีหน่วยเกี่ยวข้องเสนอปรับแก้ไขเพิ่มเติมบางส่วน เพื่อให้การสรรหาบุคคลที่มีความรู้ความสามารถกับต าแหน่งหน้าที่
ในการปฏิบัติงานอย่างแท้จริง (เอกสาร ๕) โดยได้มีการถกแถลงและที่ประชุมมีมติเห็นชอบ ดังนี้
๒.๒.๑ ผู้สมัครสอบแข่งขันฯ กลุ่มต าแหน่ง รอง สว.ท าหน้าที่นิติกร (จ านวน ๑๐๐ อัตรา)
ต้องเป็นผู้ส าเร็จการศึกษาได้รับวุฒิปริญญาโท หรือเทียบได้ไม่ต่ ากว่านี้ทางกฎหมาย(รวมถึงผู้ส าเร็จการศึกษาได้รับวุฒิ
ปริญญาโททางกฎหมายจากต่างประเทศ) และต้องส าเร็จวิชากฎหมายไทย ๓ วิชา คือ ประมวลกฎหมายอาญา
ครบทุกลักษณะ, ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ครบทุกลักษณะ และกฎหมายลักษณะพยาน หรือได้รับ
ประกาศนียบัตรเนติบัณฑิตจากส านักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา โดยต้องส าเร็จการศึกษา และ
ได้รับอนุมัติปริญญาบัตรจากสภามหาวิทยาลัย หรือสภาสถาบันของสถานศึกษานั้นๆ ภายในวันปิดรับสมัคร และ
คุณวุฒินั้นต้องเป็นคุณวุฒิการศึกษาที่ ก.ตร. หรือ ส านักงาน ก.พ. ได้รับรองไว้แล้ว
๒.๒.๒ ผู้สมัครสอบแข่งขันฯ กลุ่มต าแหน่ง รอง สว.ท าหน้าที่บัญชี, การเงินและบัญชี,
ตรวจสอบภายใน, การเงิน, การเงินและพัสดุ, การเงินและงบประมาณ, และปฏิบัติการ(การเงิน) (จ านวน ๑๐๐ อัตรา)
ต้องเป็นผู้ส าเร็จการศึกษาได้รับวุฒิปริญญาตรีทางบัญชี โดยต้องส าเร็จการศึกษา และได้รับอนุมัติปริญญาบัตร
จากสภามหาวิทยาลัย หรือสภาสถาบันของสถานศึกษานั้นๆ ภายในวันปิดรับสมัคร และคุณวุฒินั้นต้องเป็นคุณวุฒิ
การศึกษา ที่ส านักงาน ก.พ. รับรองไว้แล้ว โดยหลักเกณฑ์การพิจารณาให้เป็นไปตามหนังสือ ส านักงาน ก.พ.
ที่ นร ๑๐๐๔.๓/ว ๑๔ ลง ๑๑ ธ.ค.๕๑
๒.๒.๓ ผู้สมัครสอบแข่งขันฯ กลุ่มต าแหน่ง รอง สว.ท าหน้าที่ประมวลผล (จ านวน
๑๐๐ อัตรา) ต้องเป็นผู้ส าเร็จการศึกษาได้รับวุฒิปริญญาตรีทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ โดยต้องส าเร็จการศึกษา
และได้รับอนุมัติปริญญาบัตรจากสภามหาวิทยาลัย หรือสภาสถาบันของสถานศึกษานั้นๆ ภายในวันปิดรับสมัคร
และคุณวุฒินั้นต้องเป็นคุณวุฒิการศึกษาที่ ก.ตร. หรือ ส านักงาน ก.พ. ได้รับรองไว้แล้ว
๒.๒.๔ ผู้สมัครสอบแข่งขันฯ กลุ่มต าแหน่ง รอง สว.ท าหน้าที่บริการการศึกษา
(จ านวน ๑๐ อัตรา)ต้องเป็นผู้ส าเร็จการศึกษาได้รับวุฒิปริญญาตรีทางวิจัยการศึกษา สถิติการศึกษา การวัดผลและ
ประเมินผลการศึกษา พัฒนาหลักสูตร พัฒนาการศึกษา บริหารการศึกษา เทคโนโลยีทางการศึกษา โสตทัศนศึกษา
การวัดผลการศึกษา การอุดมศึกษา อุตสาหกรรมการศึกษา พัฒนศึกษาศาสตร์ หรือการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร
โดยต้องส าเร็จการศึกษา และได้รับอนุมัติปริญญาบัตรจากสภามหาวิทยาลัย หรือสภาสถาบันของสถานศึกษานั้นๆ
ภายในวันปิดรับสมัคร และคุณวุฒินั้นต้องเป็นคุณวุฒิการศึกษาที่ ก.ตร. หรือ ส านักงาน ก.พ. ได้รับรองไว้แล้ว
๒.๒.๕ ผู้สมัครสอบแข่งขันฯ กลุ่มต าแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ (สบ ๑) (จ านวน ๑๐๐ อัตรา)
ต้องเป็นผู้ส าเร็จการศึกษาได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบได้ไม่ต่ ากว่านี้ทางวิทยาศาสตร์ สาขาต่างๆ แยกเป็น
๒.๒.๕.๑ สาขาเคมี (ไม่รวมถึง สาขาเคมีอื่นๆ หรือแขนงอื่น) (จ านวน ๓๗ อัตรา)
๒.๒.๕.๒ สาขาฟิสิกส์, สาขาฟิสิกส์ประยุกต์, สาขาฟิสิกส์อิเล็กทรอนิกส์
(ไม่รวมถึง สาขาฟิสิกส์อื่นๆ หรือแขนงอื่น) (จ านวน ๔๕ อัตรา)
๒.๒.๕.๓ สาขาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ (จ านวน ๒ อัตรา)
๒.๒.๕.๔ สาขาชีววิทยา (ไม่รวมถึง สาขาชีววิทยาอื่นๆ หรือแขนงอื่น)
(จ านวน ๕ อัตรา)
๒.๒.๕.๕ สาขาจุลชีววิทยา, สาขาจุลชีววิทยาประยุกต์, สาขาจุลชีววิทยา-
อุตสาหกรรม และสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ (ไม่รวมถึงปริญญาตรีวิทยาศาสตร์ สาขาจุลชีววิทยาอื่นๆ หรือแขนงอื่น)
(จ านวน ๗ อัตรา)
๒.๒.๕.๖ สาขาจิตวิทยาคลินิก (จ านวน ๔ อัตรา)
โดยต้องส าเร็จการศึกษา และได้รับอนุมัติปริญญาบัตรจากสภามหาวิทยาลัย
หรือสภาสถาบันของสถานศึกษานั้นๆ ภายในวันปิดรับสมัคร และคุณวุฒินั้นต้องเป็นคุณวุฒิการศึกษาที่ ก.ตร.
หรือ ส านักงาน ก.พ. ได้รับรองไว้แล้ว
๒.๒.๖ ผู้สมัครสอบแข่งขันฯ กลุ่มต าแหน่งต่างๆ ในข้อ ๒.๒.๑ – ๒.๒.๕๒.๒.๖.๑ เป็นผู้มีอายุไม่ต่ ากว่า ๑๘ ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน ๓๕ ปีบริบูรณ์
นับถึงวันปิดรับสมัคร
๒.๒.๖.๒ รับสมัครทั้งเพศชายและเพศหญิง โดยเพศชาย ร่างกายต้องสูง
ไม่น้อยกว่า ๑๖๐ ซม. และรอบอก ไม่น้อยกว่า ๗๗ ซม. เพศหญิง ร่างกายต้องสูงไม่น้อยกว่า ๑๕๐ ซม.
๒.๒.๖.๓ ให้ผู้สมัครสอบแข่งขันฯ (ในข้อ ๒.๒.๑ – ๒.๒.๕) ได้รับการยกเว้น
การขาดคุณสมบัติ กรณีเป็นผู้มีสายตาผิดปกติ ตรวจแบบเสนลเลน (ปกติ ๖/๖) โดยเมื่อสวมแว่นสายตาแล้ว
สามารถมองเห็นได้ตามปกติ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการแพทย์โรงพยาบาลต ารวจวินิจฉัยเป็นที่สุด
๒.๒.๖.๔ ผู้ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งต้องปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งดังกล่าว
(ในข้อ ๒.๒.๑ – ๒.๒.๕) ไม่น้อยกว่า ๔ ปี จึงจะมีสิทธิได้รับการพิจารณาแต่งตั้งไปด ารงต าแหน่งอื่นได้
๒.๒.๖.๕ อัตราเงินเดือนที่จะใช้รองรับการบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการ
เป็นข้าราชการต ารวจชั้นสัญญาบัตร ยศ ร.ต.ต. ด ารงต าแหน่ง รอง สว. ท าหน้าที่ด้านต่างๆ จะได้รับอัตราเงินเดือน
ตามคุณวุฒิ โดยผู้มีวุฒิปริญญาโท จะได้รับอัตราเงินเดือน ระดับ ส.๑ ขั้น ๒๒ (๑๗,๕๕๐ บาท), ผู้มีวุฒิ
ประกาศนียบัตรเนติบัณฑิต จะได้รับอัตราเงินเดือน ระดับ ส.๑ ขั้น ๑๙.๕ (๑๕,๙๒๐ บาท), ผู้มีวุฒิปริญญาตรี
จะได้รับอัตราเงินเดือน ระดับ ส.๑ ขั้น ๑๘.๕ (๑๕,๒๙๐ บาท) ทั้งนี้ เป็นไปตามมติ ก.ตร. ครั้งที่ ๔/๒๕๕๗
เมื่อ ๓๐ เม.ย.๒๕๕๗
๒.๒.๗ ผู้สมัครสอบแข่งขันฯ กลุ่มต าแหน่ง รอง สว.สายงานปฏิบัติการป้องกันปราบปราม
(จ านวน ๔๐ อัตรา)
๒.๒.๗.๑ ต้องเป็นผู้ส าเร็จการศึกษาได้รับวุฒิปริญญาตรีทางกฎหมาย
การปกครอง หรือรัฐประศาสนศาสตร์ โดยต้องศึกษาส าเร็จวิชากฎหมายไทยอย่างน้อย ๓ วิชา คือ
ประมวลกฎหมายอาญา ครบทุกลักษณะ, ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ครบทุกลักษณะ และ
กฎหมายลักษณะพยาน ทั้งนี้จะเป็นการศึกษาเพื่อการได้รับปริญญาดังกล่าว หรือเป็นการศึกษาเพิ่มเติม
ภายหลังก็ได้ โดยต้องส าเร็จการศึกษา และได้รับอนุมัติปริญญาบัตรจากสภามหาวิทยาลัย หรือสภาสถาบันของ
สถานศึกษานั้นๆ ภายในวันปิดรับสมัคร และคุณวุฒินั้นต้องเป็นคุณวุฒิการศึกษาที่ ก.ตร.หรือ ส านักงาน ก.พ.
ได้รับรองไว้แล้ว
๒.๒.๗.๒ มีความรู้ความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษ และผ่านการทดสอบ
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) จากสถาบันที่หน่วยรับผิดชอบในการรับสมัครและสอบแข่งขันฯ ก าหนด
๒.๒.๗.๓ มีอายุไม่ต่ ากว่า ๑๘ ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน ๓๕ ปีบริบูรณ์นับถึงวัน
ปิดรับสมัคร
๒.๒.๗.๔ รับสมัครเพศชาย จ านวน ๓๐ อัตรา เพศหญิง จ านวน ๑๐ อัตรา
โดยเพศชาย ร่างกายต้องสูงไม่น้อยกว่า ๑๖๐ ซม. และรอบอกไม่น้อยกว่า ๗๗ ซม. เพศหญิง ร่างกายต้องสูง
ไม่น้อยกว่า ๑๕๐ ซม

ขอบเขตวิชาการทดสอบ


ขอบเขตวิชาการทดสอบ ในการรับสมัครและสอบแข่งขันบุคคลภายนอกผู้มีวุฒิปริญญาสาขาต่างๆ
เพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการต ารวจชั้นสัญญาบัตร จ านวน ๔๕๐ อัตรา (โดยสรุป)
การทดสอบภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ด้วยวิธีสอบข้อเขียน จ านวน ๔๐ ข้อ จ านวน(ข้อ)
ทุกกลุ่มต าแหน่ง (ทุกกลุ่มงาน/สายงาน) ๔๐ ข้อ
๑) ความสามารถทั่วไป ๒๐ ข้อ
๒) ภาษาไทย ๒๐ ข้อ
การทดสอบภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะต าแหน่ง ด้วยวิธีสอบข้อเขียน จ านวน ๑๑๐ ข้อ จ านวน(ข้อ)
๑. กลุ่มต าแหน่ง รอง สว. ท าหน้าที่นิติกร ๑๑๐ ข้อ
๑.๑ ประมวลกฎหมายอาญา ๒๕ ข้อ
๑.๒ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๒๕ ข้อ
๑.๓ กฎหมายลักษณะพยาน (ป.วิ.อาญา ภาค ๕ พยานหลักฐาน) ๒๐ ข้อ
๑.๔ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ๑๐ ข้อ
๑.๕ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๐ ข้อ
๑.๖ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
๑๐ ข้อ
๒. กลุ่มต าแหน่ง รอง สว. ท าหน้าที่บัญชี, การเงินและบัญชี, ตรวจสอบภายใน, การเงิน, การเงิน
และพัสดุ, การเงินและงบประมาณ, และปฏิบัติการ(การเงิน)
๑๑๐ ข้อ
๒.๑ หลักการบัญชีทั่วไป ๔๐ ข้อ
๒.๒ หลักการและนโยบายบัญชีส าหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ ๒ ๒๕ ข้อ
๒.๓ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ๑๕ ข้อ
๒.๔ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๐ ข้อ
๒.๕ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
๑๐ ข้อ
๓. กลุ่มต าแหน่ง รอง สว. ท าหน้าที่ประมวลผล ๑๑๐ ข้อ
๓.๑ ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
๓.๑.๑ หลักการเขียนโปรแกรม ๒๕ ข้อ
๓.๑.๒ โครงสร้างและการจัดการฐานข้อมูล ๑๕ ข้อ
๓.๑.๓ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๑๕ ข้อ
๓.๑.๔ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ๑๕ ข้อ
๓.๑.๕ มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ ๑๐ ข้อ
๓.๒ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๐ ข้อ
๓.๓ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
๑๐ ข้อ
๔. กลุ่มต าแหน่ง รอง สว. ท าหน้าที่บริการการศึกษา ๑๑๐ ข้อ
๔.๑ การวัดผลและประเมินผลการศึกษา ๑๕ ข้อ
๔.๒ วิธีการจัดการเรียนรู้ ๑๕ ข้อ
๔.๓ การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร ๒๐ ข้อ
๔.๔ จิตวิทยาการศึกษา ๑๕ ข้อ
๔.๕ พัฒนาการศึกษา/พัฒนศึกษาศาสตร์ ๑๕ ข้อ
๔.๖ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๐ ข้อ
๔.๗ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
๑๐ ข้อ- ๒ -
ขอบเขตวิชาการทดสอบ ในการรับสมัครและสอบแข่งขันบุคคลภายนอกผู้มีวุฒิปริญญาสาขาต่างๆ
เพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการต ารวจชั้นสัญญาบัตร จ านวน ๔๕๐ อัตรา (โดยสรุป)
การทดสอบภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะต าแหน่ง ด้วยวิธีสอบข้อเขียน จ านวน ๑๑๐ ข้อ จ านวน(ข้อ)
๕. กลุ่มต าแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ (สบ ๑) (แยกเป็น ๖ สาขา) ๑๑๐ ข้อ
๕.๑ นักวิทยาศาสตร์ (สบ ๑) สาขาเคมี
๕.๑.๑ ความรู้เกี่ยวกับสาขาเคมี ๘๐ ข้อ
๕.๑.๒ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๐ ข้อ
๕.๑.๓ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง, พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
๑๐ ข้อ
๕.๒ นักวิทยาศาสตร์ (สบ ๑) สาขาฟิสิกส์ สาขาฟิสิกส์ประยุกต์ สาขาฟิสิกส์อิเล็กทรอนิกส์
๕.๒.๑ ความรู้เกี่ยวกับสาขาฟิสิกส์ สาขาฟิสิกส์ประยุกต์ สาขาฟิสิกส์อิเล็กทรอนิกส์ ๘๐ ข้อ
๕.๒.๒ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๐ ข้อ
๕.๒.๓ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง, พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
๑๐ ข้อ
๕.๓ นักวิทยาศาสตร์ (สบ ๑) สาขาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ
๕.๓.๑ ความรู้เกี่ยวกับสาขาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ ๘๐ ข้อ
๕.๓.๒ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๐ ข้อ
๕.๓.๓ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง, พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
๑๐ ข้อ
๕.๔ นักวิทยาศาสตร์ (สบ ๑) สาขาชีววิทยา
๕.๔.๑ ความรู้เกี่ยวกับสาขาชีววิทยา ๘๐ ข้อ
๕.๔.๒ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๐ ข้อ
๕.๔.๓ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง, พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
๑๐ ข้อ
๕.๕ นักวิทยาศาสตร์ (สบ ๑) สาขาจุลชีววิทยา สาขาจุลชีววิทยาประยุกต์ สาขาจุลชีววิทยา
อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ
๕.๕.๑ ความรู้เกี่ยวกับสาขาจุลชีววิทยา สาขาจุลชีววิทยาประยุกต์ สาขาจุลชีววิทยาอุตสาหกรรม
สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ
๘๐ ข้อ
๕.๕.๒ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๐ ข้อ
๕.๕.๓ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง, พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
๑๐ ข้อ
๕.๖ นักวิทยาศาสตร์ (สบ ๑) สาขาจิตวิทยาคลินิก
๕.๖.๑ ความรู้เกี่ยวกับสาขาจิตวิทยาคลินิก ๘๐ ข้อ
๕.๖.๒ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๐ ข้อ
๕.๖.๓ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง, พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
๑๐ ข้อ- ๓ -
ขอบเขตวิชาการทดสอบ ในการรับสมัครและสอบแข่งขันบุคคลภายนอกผู้มีวุฒิปริญญาสาขาต่างๆ
เพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการต ารวจชั้นสัญญาบัตร จ านวน ๔๕๐ อัตรา (โดยสรุป)
การทดสอบภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะต าแหน่ง ด้วยวิธีสอบข้อเขียน จ านวน ๑๑๐ ข้อ จ านวน(ข้อ)
๖. กลุ่มต าแหน่ง รอง สว. สายงานปฏิบัติการป้องกันปราบปราม (ปป.) ๑๑๐ ข้อ
๖.๑ ประมวลกฎหมายอาญา ๓๐ ข้อ
๖.๒ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๓๐ ข้อ
๖.๓ กฎหมายลักษณะพยาน (ป.วิ.อาญา ภาค ๕ พยานหลักฐาน) ๒๐ ข้อ
๖.๔ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๐ ข้อ
๖.๕ พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗และที่แก้ไขเพิ่มเติม, พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๔, กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง, พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
๑๐ ข้อ
การทดสอบภาคความเหมาะสมกับต าแหน่ง เกณฑ์วัดผล
๑. กลุ่มต าแหน่ง รอง สว. ท าหน้าที่ด้านต่างๆ (ทุกกลุ่ม ยกเว้น กลุ่มต ำแหน่ง รอง สว.สำยงำน ปป.)
- สอบสัมภาษณ์ ผู้ที่คณะกรรมการสอบสัมภาษณ์เห็นว่าเหมาะสม ผ่าน
๒. กลุ่มต าแหน่ง รอง สว. สายงานปฏิบัติการป้องกันปราบปราม (ปป.)
๒.๑ การทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย
(๑) ว่ายน้ า ระยะทาง ๒๕ เมตร ชาย ผู้ท าเวลาไม่เกิน ๔๐ วินาที
หญิง ผู้ท าเวลาไม่เกิน ๕๐ วินาที
ผ่าน
(๒) วิ่ง ระยะทาง ๑,๐๐๐ เมตร ชาย ผู้ท าเวลาไม่เกิน ๕ นาที ๓๐ วินาที
หญิง ผู้ท าเวลาไม่เกิน ๗ นาที
ผ่าน
๒.๒ การทดสอบภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เกณฑ์ตามที่ผู้ด าเนินการสอบแข่งขันก าหนด ผ่าน
๒.๓ สอบสัมภาษณ์ ผู้ที่คณะกรรมการสอบสัมภาษณ์เห็นว่าเหมาะสม ผ่าน
หมายเหตุ : ๑) การทดสอบภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะต าแหน่ง (ยกเว้น ภำษำต่ำงประเทศ (ภำษำอังกฤษ) และ
พระรำชบัญญัติต ำรวจแห่งชำติ พ.ศ.๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติมพระรำชบัญญัติต ำรวจแห่งชำติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๔,
กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง และพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖)
จ านวน ๘๐ ข้อ ให้หน่วยที่ได้รับจัดสรรอัตรา และมอบหมายให้ด าเนินการสอบแข่งขัน เป็นผู้ก าหนด และ
สรรหาผู้ทรงคุณวุฒิในการออกข้อสอบ
๒) ข้อสอบที่ต้องสอบทุกต าแหน่ง (ทุกกลุ่มงาน/สายงาน) จ านวน ๗๐ ข้อ ให้ บช.ศ.(กส.) เป็นผู้ด าเนินการ
ประกอบด้วย ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป จ านวน ๔๐ ข้อ แยกเป็น
(๑) ความสามารถทั่วไป จ านวน ๒๐ ข้อ
(๒) ภาษาไทย จ านวน ๒๐ ข้อ
ภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะต าแหน่ง จ านวน ๓๐ ข้อ แยกเป็น
(๑) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) จ านวน ๒๐ ข้อ
(๒) พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม, จ านวน ๑๐ ข้อ
พระราชบัญญัติต ารวจแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๔,
กฎ ก.ตร.ที่เกี่ยวข้อง และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์
และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖


อัตราที่เปิดรับ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น